Blog

artificial intelligence southeast asia

บทความที่เกี่ยวกับ AI ที่มีผลต่อประเด็นสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แปลเป็นภาษาไทยแล้ว

ด้วยประโยชน์ของการแปลงานในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีเช่นนี้ย่อมช่วยเผยแพร่ความรู้แก่ผู้ที่สนใจในภูมิภาคของเรา ซึ่งมีความหลากหลายทั้งทางภาษาและวัฒนธรรม จึงได้เลือกแปลบทความทั้งสามชิ้นของ Jun-E Tan ที่เกี่ยวกับสถานการณ์ของปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภาษาไทย โดยธีรดา ณ จัตุรัส ผู้ที่ยินดีอาสาสมัครมาช่วยแปลบทความในซีรี่ย์ที่เกี่ยวกับ AI ซึ่งปัจจุบันธีรดาทำงานเป็นที่ปรึกษาทางด้านการวางแผนนโยบายทางด้านการศึกษาของ UNESCO Paris หลังจากจบการศึกษาทางด้านการสื่อสารดิจิทัล ด้วยปริญญาปรัชญา (MPhil in Digital Communications) จากมหาวิทยาลัย University of Westminster ในลอนดอน

artificial intelligence southeast asia

Series on AI and Southeast Asia now available in Thai

The need for accurate translations for English resources on technology continues to be necessary in order to reach a wider audience in our diverse region. In line with that thrust, the three-part series on artificial intelligence (AI) in the context of Southeast Asia by Jun-E Tan is now available in Thai. This AI series was voluntarily translated by Teerada Na Jatturas, a consultant with UNESCO with a postgraduate degree in Digital Communications from the University of Westminster.

FINAS Act Malaysia Stock Image

Statement: Finas Act must be reformed to protect freedom of expression

We appeal to Finas to stay true to its role of “uplifting, nurturing and facilitating” the development of the Malaysian film industry, as stated in Section 6 (1) of the Finas Act, and not function against the interest of filmmakers. If Finas enforces regulations under the law to censor and penalise filmmakers, it will go against its own objective and purpose.

Image by Gerd Altmann from Pixabay

เมื่อ AI กลายเป็นอาวุธที่มีผลกระทบต่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ในบทความนี้ เราจะมาพิจารณากันในรายละเอียดว่า จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อ AI ถูกพัฒนาเพื่อนำมาใช้เป็นอาวุธเพื่อนำมาละเมิดสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (civil and political rights – CPR) เช่น สิทธิในการมีชีวิตและสิทธิในการกำหนดชะตากรรมตนเอง และรวมทั้งสิทธิในการแสดงออก เสรีภาพของปัจเจกบุคคล สิทธิในการนับถือศาสนา การสมาคม และสิทธิอื่นๆ

Image by Gerd Altmann from Pixabay

เมื่อ AI กลายเป็นอาวุธที่มีผลกระทบต่อสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง

ในบทความนี้ เราจะมาพิจารณากันในรายละเอียดว่า จะเกิดอะไรขึ้นเมื่อ AI ถูกพัฒนาเพื่อนำมาใช้เป็นอาวุธเพื่อนำมาละเมิดสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง (civil and political rights – CPR) เช่น สิทธิในการมีชีวิตและสิทธิในการกำหนดชะตากรรมตนเอง และรวมทั้งสิทธิในการแสดงออก เสรีภาพของปัจเจกบุคคล สิทธิในการนับถือศาสนา การสมาคม และสิทธิอื่นๆ

Artificial Intelligence. Image by Gerd Altmann from Pixabay

เราจะอยู่ร่วมกับ AI ได้หรือไม่: ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) กับผลกระทบต่อสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

บทความนี้เป็นบทความที่สองในซีรีย์บทความที่เกี่ยวกับผลกระทบสิทธิมนุษยชนที่มาจากปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) ในบริบทของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อการสร้างความตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในประเด็นนี้

Artificial Intelligence. Image by Gerd Altmann from Pixabay

เราจะอยู่ร่วมกับ AI ได้หรือไม่: ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) กับผลกระทบต่อสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม

บทความนี้เป็นบทความที่สองในซีรีย์บทความที่เกี่ยวกับผลกระทบสิทธิมนุษยชนที่มาจากปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) ในบริบทของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยมีจุดประสงค์เพื่อการสร้างความตระหนักรู้และการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมในประเด็นนี้

"Inteligencia Artificial: ECI 33 (UBA)" by Juan Pablo Dellacha is licensed under CC BY-NC-ND 4.0

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) กับข้อกังวลด้านสิทธิมนุษยชนในสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ภาพรวม

แม้เราจะเห็นคำว่าปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายไปทุกหนทุกแห่งในชีวิตประจำวัน รวมถึงการสื่อสารของเราในแต่ละวัน แต่ความเข้าใจเกี่ยวกับ AI ยังถือว่ามีอยู่น้อยมากในกลุ่มภาคประชาสังคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่นคำถามที่ว่า 1) AI คืออะไร 2) แล้วมีการนำ AI ไปประยุกต์ใช้อะไรบ้างในปัจจุบันโดยเฉพาะในภูมิภาคนี้ 3) รวมไปถึงอะไรคือความเชื่อมโยงระหว่างการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีใหม่อย่าง AI กับปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน 4) และยุทธศาสตร์การทำงานที่จะช่วยบรรเทาปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนจะเป็นอย่างไร

"Inteligencia Artificial: ECI 33 (UBA)" by Juan Pablo Dellacha is licensed under CC BY-NC-ND 4.0

ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence: AI) กับข้อกังวลด้านสิทธิมนุษยชนในสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใต้: ภาพรวม

แม้เราจะเห็นคำว่าปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence หรือ AI) ถูกนำมาใช้อย่างแพร่หลายไปทุกหนทุกแห่งในชีวิตประจำวัน รวมถึงการสื่อสารของเราในแต่ละวัน แต่ความเข้าใจเกี่ยวกับ AI ยังถือว่ามีอยู่น้อยมากในกลุ่มภาคประชาสังคมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่นคำถามที่ว่า 1) AI คืออะไร 2) แล้วมีการนำ AI ไปประยุกต์ใช้อะไรบ้างในปัจจุบันโดยเฉพาะในภูมิภาคนี้ 3) รวมไปถึงอะไรคือความเชื่อมโยงระหว่างการเกิดขึ้นของเทคโนโลยีใหม่อย่าง AI กับปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชน 4) และยุทธศาสตร์การทำงานที่จะช่วยบรรเทาปัญหาการละเมิดสิทธิมนุษยชนจะเป็นอย่างไร

Coconet II Camp Digital Rights

What are digital rights?

What are digital rights? While human rights have been more clearly defined through the UN Declaration of Human Rights (UDHR) and translated into various legally-binding laws, the same cannot be said for the terms “digital”, “technology”, or the “internet”. In unpacking these terms, we’ll find the interpretations vary much more widely.

Excerpt: The Case for Technological Solutions to Digital Rights

What does it mean when technologists say “you can code anything”? In her inaugural article for The IO Foundation, Maryam Lee shares her thoughts on why human rights perspectives have the potential to move technological innovation to greater heights. She also argues that people do not need to choose between enjoying the latest technologies and human rights, and how they both could co-exist in our lives.

#SaveRome: Call for Solidarity from Thailand

Note from the editor: After recent news related to human rights and freedom of expression in their country, Coconet members from Thailand shared the following call for solidarity addressed to the international community. We would like to share it here in full, with some links

วิถีการต่อต้านโดยคนรุ่นใหม่ในโลกออนไลน์: ขบวนการนักศึกษาไทยกับการเคลื่อนไหวทางการเมืองในยุคโควิด

ความหวังที่จะเห็นการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองของไทยเริ่มเกิดขึ้นอีกครั้งในช่วงต้นปี 2563 จากการเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่หลังศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยยุบพรรคอนาคตใหม่เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ ได้จุดไฟกระแสความไม่พอใจที่มีต่อรัฐบาลของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ที่ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีมาตั้งแต่เหตุการณ์รัฐประหารปี 2557 จนนำไปสู่กระแสกิจกรรมแฟลชม็อบ (Flash mob) ที่ดำเนินไปเป็นไฟลามทุ่งโดยกลุ่มนักศึกษาในหลายสถาบันทั่วประเทศ จากสถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนที่บันทึกเหตุการณ์ช่วงระหว่างวันที่ 21 กุมภาพันธ์จนถึง 14 มีนาคม 2563 พบว่า มีการจัดกิจกรรมชุมนุมในลักษณะแฟลชม็อบ เพื่อเรียกร้องประชาธิปไตยและต่อต้านเผด็จการอย่างน้อย 79 ครั้งที่เกิดในพื้นที่มหาวิทยาลัยจากทั่วประเทศ

Thailand Online Protest

Thai student protesters in the time of COVID-19: New generation, new forms of resistance online

Hope for political change in Thailand has grown stronger in 2020 after a wave of student protests across the country followed the constitutional court’s dissolution of the opposition Future Forward Party. This wave of protests, dubbed the “youthquake” phenomenon, is reflective of the political awareness among the Thai youth. Despite the ban on public assembly, the youth have taken to platforms online and offline to vent out their frustrations. Online, however, the Thai youth continue to protest, using social media to voice out their criticisms against the government.

Pemblokiran Internet di Papua dan Papua Barat vs Kelanjutan Putusan Majelis Hakim PTUN Jakarta

Awal bulan Juni 2020, Pengadilan Tata Usaha Negara (PTUN) menyatakan Pemerintah Indonesia, dalam hal ini Presiden RI dan Kementerian Komunikasi dan Informasi (Menkominfo), telah melanggar hukum atas tindakan pelambatan (throttling) dan pemblokiran internet di beberapa wilayah di Papua dan Papua Barat pada tahun 2019. Kasus yang terjadi selama kurang lebih satu bulan dari tanggal 19 Agustus hingga 28 September 2019 ini diajukan ke PTUN oleh koalisi kelompok masyarakat sipil yang ada di Asia Tenggara. Kemenangan Tim Pembela Kebebasan Pers atas gugatan pada Menkominfo dan Presiden RI, menjadi contoh baik menyikapi cara pemerintah menerapkan otoritasnya dalam pengelolaan Internet.

Monitoring the ruling vs 2019 internet shutdowns in Papua and West Papua

Earlier this month, the Jakarta State Administrative Court declared as illegal the internet shutdowns in Papua and West Papua enforced by the Indonesian government in 2019. The case on the month-long shutdown, from August 19 to September 28 last year, was filed by a coalition of civil society groups working in Southeast Asia. The victory of the Press Freedom Defender Team over the lawsuit against the Minister of Communication and Information and the President of the Republic of Indonesia, is a good example of how citizens can respond to government’s unlawful management of public communication infrastructure like the Internet.

Joseph Lamont Marapu song instrument

Singing about global issues – and COVID-19 – with the Marapu community

Songs in the local language of the Marapu community in East Sumba, Indonesia, have become a bridge for the Marapu community to directly communicate and receive information and relevant health recommendations from the World Health Organisation and national and local governments in a culturally familiar and appropriate context.

Rakhine Myanmar World Food Programme

The Myanmar government is hiding the truth of Arakan conflicts

The military strategy to fight the AA and other rebel groups in the country can be summarized into cutting off four key areas: recruitment, food, budget, and information. The fourth part, information, means to censor news and media about the Arakan conflicts.

Bebaskan Ravio Patra

#BebaskanRavio: Free Ravio Patra and reveal the WhatsApp hackers

On the evening of April 22, 2020, researcher Ravio Patra was arrested in Jakarta, Indonesia, not long after an attempt to protect his safety due to a WhatsApp privacy breach. His work has captured the interest of many, notably his most recent critique on the sparse handling of COVID-19 by the Jokowi administration.